วันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนประจำวันพฤหัสบดี ที่ 28 เมษายน 2559 (เรียนชดเชย)

Lesson 9




 Knowledge:



โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)

  • แผน IEP
    1. แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
    2. เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเขา
    3. ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
    4. โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก

    • การเขียนแผน IEP
    1. คัดแยกเด็กพิเศษ
    2. ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
    3. ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ จะทำให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน ในทักษะใด 
    4. สามารถทำอะไรได้  / เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
    5. แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP

    • IEP ประกอบด้วย
    1. ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
    2. ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
    3. การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
    4. เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น
    5. ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
    6. วิธีการประเมินผล

      ประโยชน์ต่อเด็ก


      • ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน
      • ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
      • ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
      • ถ้าเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนจะไม่ถูกจัดเข้าชั้นเรียนเฉยๆ
      ประโยชน์ต่อครู





      • เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามารถและความต้องการของเด็ก
      • เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีการสอนให้เหมาะกับเด็ก
      • ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป
      • เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
      • ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
      ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง



      • ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ
      • ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร
      • เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง และใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน
      ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล

         

      • การรวบรวมข้อมูล เช่น รายงานทางการแพทย์  รายงานการประเมินด้านต่างๆ บันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง

      • การจัดทำแผน  ได้แก่  ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง   กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น  กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม   จะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

      • การใช้แผน
      1. แผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
      2. นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
      3. แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
      4. จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
      5. ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามารถ โดยคำนึงถึง
      • ขั้นตอนพัฒนาการของเด็กปกติ
      • ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวกับปัญหาของพัฒนาการเด็ก
      • อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและผู้ใหญ่ที่มีผลต่อการแสดงออกของเด็ก

      • การประเมินผล 
      โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
      ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล

      ** การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรม
      อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน**


      การจัดทำ IEP






      ทำกิจกรรมวาดวงกลม เพื่อทายลักษณะนิสัย แล้วนำไปประกอบเป็นต้นไม้ แสดงถึงความรัก สามัคคีกลมเกลียวกันระหว่างเพื่อนในห้องเรียน







      หมายเหตุ

      เนื่องจากสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนการสอน จึงได้มีการมีแจกรางวัลเด็กดีให้กับนักศึกษาที่เข้าเรียนครบ ตรงต่อเวลาในการเรียน ซึ่งก็เป็นอีกหนึ่งปีที่ข้าพเจ้าได้รับรางวัลเด็กดีอีกครั้ง










      Apply:   


      Evaluation: 

        Teacher :  

      เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนและเข้าใจง่าย

       Friends:   

      แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา


       Self:  

      เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

      บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ ที่ 22 เมษายน 2559

      Lesson 8




       Knowledge:


      การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ






      1. เพื่อให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน 
      2. ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด  
      3. เน้นการดูแลแบบองค์รวม (Holistic Approach)

      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา

      • เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม การสื่อสาร และทักษะทางความคิด 
      • เกิดผลดีในระยะยาว 
      • เน้นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้เด็กสามารถใช้ในชีวิตประจำวันจริงๆแทนการฝึกแต่เพียงทักษะทางวิชาการ
      • แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล 
      •     (Individualized Education Program; IEP)
      • โรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะทาง โรงเรียนเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน


      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
      • การฝึกฝนทักษะในชีวิตประจำวัน (Activity of Daily Living Training)
      • การฝึกฝนทักษะสังคม (Social Skill Training)
      • การสอนเรื่องราวทางสังคม (Social Story)

      การบำบัดทางเลือก



    1. การสื่อความหมายทดแทน (AAC)
    2. ศิลปกรรมบำบัด (Art Therapy)
    3. ดนตรีบำบัด (Music Therapy)
    4. การฝังเข็ม (Acupuncture)
    5. การบำบัดด้วยสัตว์ (Animal Therapy)




    6. การสื่อความหมายทดแทน (Augmentative and Alternative Communication ; AAC)



    7. การรับรู้ผ่านการมอง (Visual Strategies) 
    8. โปรแกรมแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร (Picture Exchange Communication System; PECS) 
    9. เครื่องโอภา (Communication Devices) 
    10. โปรแกรมปราศรัย



    11. Picture Exchange Communication System (PECS)













      บทบาทของครู




      1.    ตำแหน่งการนั่งของเด็กไม่ควรให้นั่งติดหน้าต่างหรือประตู
      2. ให้เด็กนั่งแถวหน้าสุดใกล้โต๊ะครู
      3. ให้เด็กนั่งติดกับนักเรียนที่ไม่ค่อยเล่น ไม่ค่อยคุยในระหว่างเรียน
      4. ให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง 

















      การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ



      • ทักษะทางสังคม







      • เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการพ่อแม่
      • การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี ไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข


      กิจกรรมการเล่น






      • การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
      • เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ
      • ในช่วงแรกๆ เด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อน  แต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสำรวจ สัมผัส ผลัก ดึง



      การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง


      1. วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
      2. คำนึงถึงเด็กทุกๆคน
      3. ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
      4. เด็กปกติทำหน้าที่เหมือน “ครู” ให้เด็กพิเศษ



      ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น






      1. อยู่ใกล้ๆ และเฝ้ามองอย่างสนใจ
      2. ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
      3. ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
      4. เอาวัสดุอุปกรณ์มาเพิ่ม เพื่อยืดเวลาการเล่น
      5. ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม

        • ทักษะภาษา
        การวัดความสามารถทางภาษา
        • เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
        • ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
        • ถามหาสิ่งต่างๆไหม
        • บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
        • ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม
        การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่


        • ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
        • ห้ามบอกเด็กว่า  “พูดช้าๆ”   “ตามสบาย”   “คิดก่อนพูด”
        • อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
        • อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
        • ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
        • เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน








        ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย







      1. การรับรู้ภาษามาก่อนการแสดงออกทางภาษา
      2. ภาษาที่ไม่ใช่คำพูดมาก่อนภาษาพูด
      3. ให้เวลาเด็กได้พูด
      4. คอยให้เด็กตอบ (ชี้แนะหากจำเป็น)
      5. เป็นผู้ฟังที่ดีและโตต้อบอย่างฉับไว (ครูไม่พูดมากเกินไป)
      6. เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังเพียงอย่างเดียว










          • ทักษะการช่วยเหลือตนเอง

          การสร้างความอิสระ










        • เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
        • อยากทำงานตามความสามารถ
        • เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่


          • หัดให้เด็กทำเอง



          • ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
          • ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
          • ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
          • “ หนูทำช้า ”  “ หนูยังทำไม่ได้ ” 



            • จะช่วยเมื่อไหร่





              1. เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร , หงุดหงิด , เบื่อ , ไม่ค่อยสบาย
              2. หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
              3. เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
              4. มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม

                การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
                • การกรอกน้ำ ตวงน้ำ
                • ต่อบล็อก
                • ศิลปะ
                • มุมบ้าน
                • ช่วยเหลือตนเอง


                ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเด็กพิเศษ



              1. ลูกปัดไม้ขนาดใหญ่
              2. รูปต่อที่มีจำนวนชิ้นไม่มาก








                • การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ




                    




                  1. จัดกลุ่มเด็ก
                  2. เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้ช่วงเวลาสั้นๆ
                  3. ให้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
                  4. ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
                  5. ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
                  6. บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
                  7. รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
                  8. มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
                  9. เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง




                  Apply:   


                  Evaluation: 

                    Teacher :  

                  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนและเข้าใจง่าย

                   Friends:   

                  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา


                   Self:  

                  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน





                  วันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2559

                  บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ ที่ 1 เมษายน 2559

                  Lesson 7



                   Knowledge:

                  • การจัดประสบการณ์ การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย








                  • ทำกิจกรรมวาดดอกบัว





                       ซึ่งกิจกรรมนี้เปรียบเสมือนการทดสอบว่า ถ้าเราเป็นครูเราจะมองเด็กอย่างไร ระหว่างจะมองเด็กด้วยสิ่งที่เราเห็น สิ่งที่เด็กเป็นจริงๆ หรือจะมองแบบผ่านๆแล้วใช้การเติมแต่งเพิ่มเติมเข้าไปว่าเด็กเป็นอย่างไรซึ่งบางครั้งก็อาจจะเกินความเป็นจริง



                  Apply:   



                  Evaluation: 


                    Teacher :  


                  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนพร้อมทั้งมีวีดีโอประกอบชัดเจน และยังมีกิจกรรมให้ทำเป็นการวัดความเป็นครูจริงๆ


                     Friends:   


                  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยกันบ้างบางเวลา


                   Self:  

                  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน









                  วันจันทร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2559

                  บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ที่ 11 มีนาคม 2559

                  Lesson 6



                   Knowledge:


                  • เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotional Disorders)

                  • ลักษณะของเด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์






                  • การจำแนกเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ ตามกลุ่มอาการ
                  ด้านความประพฤติ (Conduct Disorders)
                  ทำร้ายผู้อื่น ทำลายสิ่งของ ลักทรัพย์ /ฉุนเฉียวง่าย หุนหันพลันแล่น และเกรี้ยวกราด
                  เอะอะและหยาบคาย

                  ด้านความตั้งใจและสมาธิ (Attention and Concentration)
                  จดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในระยะสั้น (Short attention span) อาจไม่เกิน 20 วินาที
                  ถูกสิ่งต่างๆ รอบตัวดึงความสนใจได้ตลอดเวลา

                  สมาธิสั้น (Attention Deficit)
                  มีลักษณะกระวนกระวาย ไม่สามารถนั่งนิ่งๆ ได้ หยุกหยิกไปมา

                  การถอนตัวหรือล้มเลิก (Withdrawal)
                  หลีกเลี่ยงการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และมักรู้สึกว่าตนเองด้อยกว่าผู้อื่น
                  เฉื่อยชา และมีลักษณะคล้ายเหนื่อยตลอดเวลา

                  ความผิดปกติในการทำงานของร่างกาย(Function Disorder)
                  ความผิดปกติเกี่ยวกับพฤติกรรมการกิน (Eating Disorder)
                  การอาเจียนโดยสมัครใจ (Voluntary Regurgitation) /การปฏิเสธที่จะรับประทาน




                  • เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก

                  เด็กสมาธิสั้น
                  (Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorders)  ADHD เป็นภาวะผิดปกติทางจิตเวช
                  มีลักษณะเด่นอยู่ 3 ประการ คือ


                       Inattentiveness (สมาธิสั้น)                          
                  ทำอะไรได้ไม่นาน วอกแวก ไม่มีสมาธิ
                   ไม่สามารถจดจ่อกับงานที่กำลังทำได้นานเพียงพอ
                  เด็กเล็กๆจะเล่นอะไรได้ไม่นาน เปลี่ยนของเล่นไปเรื่อยๆ

                     Hyperactivity (ซนอยู่ไม่นิ่ง)
                  ซุกซนไม่ยอมอยู่นิ่ง ซนมาก /  เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา / เหลียวซ้ายแลขวา 

                     Impulsiveness (หุนหันพลันแล่น)   
                  ยับยั้งตัวเองไม่ค่อยได้ มักทำอะไรโดยไม่ยั้งคิด วู่วาม
                   ขาดความยับยั้งชั่งใจ

                  ไม่อดทนต่อการรอคอย หรือกฎระเบียบ























                  • เด็กพิการซ้อน (Children with Multiple Handicaps) 








                  เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง เป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก

                  เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน 

                  เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด 


                  เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด



                  Apply:   



                  Evaluation: 


                    Teacher :  


                  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนพร้อมทั้งมีวีดีโอประกอบชัดเจน และยังมีการแสดงท่าทางแต่ละอาการให้เห็นได้ชัดเจนเข้าใจง่าย


                     Friends:   


                  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยกันบ้างบางเวลา


                   Self:  

                  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน




                  วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

                  บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559

                  Lesson 5


                   Knowledge:

                  • . เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Children with Learning Disabilities) 
                  เรียกย่อ ๆ ว่า L.D. (Learning Disability) 






                  1. ด้านการอ่าน (Reading Disorder)



                  2. ด้านการเขียน (Writing Disorder)





                  3. ด้านการคิดคำนวณ (Mathematic Disorder)








                  ออทิสติก (Autistic) 












                  ทักษะของเด็กออทิสติก




                  Autistic Savant (ออทิสติกอัจฉริยะ)





                  ตัวอย่างเช่น


                  Iris Grace 





                  แดเนียล แทมเมต (Daniel Tammet)




















                  Stephen Wilts
























                  Apply:   


                  Evaluation: 

                    Teacher :  

                  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนพร้อมทั้งมีวีดีโอประกอบชัดเจน

                     Friends:   

                  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา


                   Self:  


                  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน


                  วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

                  บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559

                  Lesson 4




                   Knowledge:



                  ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ


                  1. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา (Children with Speech and Language Disorders )

                  เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด

                  หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติ ในด้านความชัดเจนในการปรับปรุงแต่งระดับและคุณภาพของเสียง จังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด


                  • ความบกพร่องในด้านการปรุงเสียง (Articulator Disorders)

                   







                  •  ความบกพร่องของจังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด (speech Flow Disorders) 



                  • ความบกพร่องของเสียงพูด (Voice Disorders)



                  ความบกพร่องทางภาษา

                    หมายถึง การขาดความสามารถที่จะเข้าใจความหมาย ของคำพูด และ/หรือไม่สามารถแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำได้

                  • การพัฒนาการทางภาษาช้ากว่าวัย (Delayed Language) 
                     2. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ (Children with Physical and Health Impairments) 


                  โรคลมชัก (Epilepsy)

                  • การชักในช่วงเวลาสั้น ๆ (Petit Mal)    อาการเหม่อนิ่งเป็นเวลา 5-10วินาที
                  • ชักแบบรุนแรง (Grand Mal) เกิดขึ้นราว 2-5 นาที 
                  • ชักแบบ Partial Complex    ไม่เกิน 3 นาที
                  • อาการไม่รู้สึกตัว (Focal Partial)  เช่น ร้องเพลง ดึงเสื้อผ้า เดินเหม่อลอย แต่ไม่มีอาการชัก
                  • ลมบ้าหมู (Grand Mal) จะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึกในขณะชักกล้ามเนื้อเกร็งหรือแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น 




                  ซี.พี. (Cerebral Palsy)



                  • การเป็นอัมพาตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการ หรือเป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด 
                  • การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่าง ๆ ของสมองแตกต่างกัน 
                  กลุ่มแข็งเกร็ง (spastic)

                  • spastic hemiplegia อัมพาตครึ่งซีก
                  • spastic diplegia อัมพาตครึ่งท่อนบน
                  • spastic paraplegia อัมพาตครึ่งท่อนล่าง
                  • spastic quadriplegia อัมพาตทั้งตัว


                  โปลิโอ (Poliomyelitis) 




                  • มีอาการกล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา
                  • ยืนไม่ได้ หรืออาจปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสริม 



                  Apply:   


                  Evaluation: 

                    Teacher :  

                  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนพร้อมทั้งมีวีดีโอประกอบชัดเจน

                     Friends:   

                  แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา


                   Self:  

                  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน